องค์ประกอบของเกลือ
กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกประกาศกระทรวง ฉบับที่ 153 เมื่อ พ.ศ. 2537 เรื่องเกลือบริโภค เป็นอาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน โดยจะต้องมีปริมาณไอโอดีนไม่น้อยกว่า 30 ppm (30 มิลลิกรัมต่อเกลือบริโภค 1 กิโลกรัม) |
นอกจากนี้เกลือบริโภค อาจมีแร่ธาตุอื่น ๆ ปนได้ ดังนี้
|
น้ำหนักแห้ง (%)
| ||||
เกลือบริสุทธิ์
|
เกลือแกง
|
เกลือเม็ด
|
เกลือสำหรับปรุงอาหาร
| |
(Refined salt)
|
(Table salt)
|
(Tablet salt)
|
(Cooking salt)
| |
วัตถุที่ไม่ละลายน้ำ ต้องไม่เกิน |
0.03
|
0.20
|
0.10
|
0.20
|
คลอไรด์(Cl) เช่น โซเดียมคลอไรด์ ต้องไม่ ต่ำกว่า |
99.60
|
97.00
|
98.00
|
97.00
|
อัลคาไลน์ เช่น โซเดียมคาร์บอเนต ต้องไม่เกิน |
0.10
|
0.20
|
0.20
|
-
|
แคลเซียม (Ca) ต้องไม่เกิน |
0.01
|
0.10
|
0.10
|
-
|
แมกนีเซียม (Mg) ต้องไม่เกิน |
0.01
|
0.1
|
0.1
|
-
|
ซัลเฟต (SO4) ต้องไม่เกิน |
0.30
|
0.50
|
0.50
|
-
|
เหล็ก (Fe) ต้องไม่เกิน |
10.00
|
50.00
|
50.00
|
-
|
ตะกั่ว (Pb) ต้องไม่เกิน |
2.00
|
2.00
|
2.00
|
-
|
อาเซนิก (As) ต้องไม่เกิน |
1.00
|
1.00
|
1.00
|
-
|
คอปเปอร์ (Cu) ต้องไม่เกิน |
2.00
|
-
|
-
|
-
|
แหล่งที่มา :http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/iodine/chapter3/salt.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น